My earliest memory is of a pot stand. It is set into a corner with a cupboard on one side and, on the other, a shallow step. This is where my head begins. The step leads to another room, and far on the other side of the room, there is a white-haired woman sitting in a chair.
Discussions with my mother lead to just one pot stand, in a seaside cottage the summer I was eighteen months old. It was, she says, made of black iron and it stood beside a real step and the white-haired woman must be her own mother who died when I was six. This image of her is all that I have, and even then it is not so much an image as a sense. She may have been asleep, but I think she was reading. And there was something very quiet and covert about the pot stand, which was a pyramid affair with shelves for four pots. I can remember a little saucepan on the top shelf. I am tempted to say that there was a big saucepan on the bottom one, but this is pushing things a bit. I would give anything to remember what the lino was like.
At nine months, the baby puts her head in a pot and says, Aaah Aaah Aaah. She says it very gently and listens to the echo. She has discovered this all by herself. By way of celebration, I put my own head into the pot and say, Aaah Aaah Aaah. Then she does it again. Then I do it again. And so on.
The rest of my family don’t believe that I remember the pot stand, on the grounds that it is a stupid memory and, anyway, I was far too young. It is the job of families to reject each other’s memories, even the pleasant ones, and being the youngest I am sometimes forced to fight for the contents of my own head. But my brother broke his elbow that summer. My mother had to take him to hospital in Dublin and my grandmother looked after us while she was away. This was the first time in my life that I was without my mother for any length of time. If she had stayed, then am certain that I would not have remembered anything at all of that house — not the pot stand, and not my grandmother either.
We pilfer our own memories, we steal them from the world and salt them away.
I first left the baby when she was four months old. Some of the days when I was away, she spent with my mother. I wonder what image might remain with her from that time: a colour, a smell, a combination of shapes perhaps, affectless and still — and in the distance, someone. Just that. Someone.
And in the foreground? The carpet perhaps. I hope she remembers my parents’ carpet, the one I remember as a child, with a pattern of green leaves like stepping-stones all the way down the hall.
I have another, possibly earlier, memory of pulling the wallpaper off the wall from between the bars of my cot. My mother is absent from this scene too, but though the Pot Stand Memory is neither happy nor unhappy, this one is quite thrilling. I almost certainly ate the paper. The plaster underneath it was pink and powdery, and I imagine now that I can remember the shivery taste of it. I also remember the shape of the tear on the wall, or I think I do. At any rate, I see it in my mind’s eye — a seam on the left, stunningly straight, with four gammy strips pulled away, like a fat raggedy set of fingers, on the right.
I know this memory is, in some sense, true, but when I try to chase it, it disappears. It exists in peripheral vision, and presents itself only when I focus on something else — like typing, for example. When I stop writing this sentence and look up from the screen to try to see the pattern of the wallpaper — a blank. Memories, by their nature, may not be examined, and the mind’s eye is not the eye we use, for example, to cross the road.
I wonder if this is the way that the baby sees things: vaguely and all at once. I imagine it to be a very emotional way to exist in the world. Perhaps I am being romantic — but the visual world yields nothing but delight to her. There are (it seems) no horrors, no frights. Tiny babies see only in monochrome. I imagine colour leaking into her head like a slowly adjusted screen — tremendously slow, like a vegetable television growing silently in the corner of the room. I imagine her focus becoming sharper and deeper, like some infinitely stoned cameraman adjusting his lens. ‘Oh,’ she says — or something that is the precursor to ‘Oh’, a shallow inhalation, a stillness as she is caught by something, and begins to stalk it: careful, rapt — the most beautiful sound in the world: the sound of a baby’s wondering breath.
Something pulls in me when she is caught like this. For months I am a slave to her attention. The world is all colour, light and texture and I am her proud companion. I have no choice. None of us do. In a café, three women look over to smile at her, and then, as one, they look up. ‘Oh, she likes the light,’ says one, and this fact pleases us all. Immensely.
The light, of course, is horrible, and this is one of the reasons mothers think they are losing their minds: this pride in the baby looking at the light, this pride in the light as they introduce it to the baby, ‘Yes, the light!’ There is a certain zen to it; the world simple and new as we all stop to admire the baby admiring a wrought-iron candelabra with peculiar dangly bits and five — yes, five! — glowing, tulip-shaped bulbs.
She is years away from knowing from what ‘five’ might be, but maybe she already gets the ‘fiveness’ of it. This is the way her eyes move: One, one more! Another one! All of them! The other two. The first one again, another one! Something else.
Sometimes she holds her hand up like the baby Christ, and looks as though she contains everything, and understands it all. I do not ask to be forgiven, but still I feel redemption in the completeness of her gaze. And I feel the redemption in her fat baby wrists and her infinitely fine, fat baby’s hand. The baby is a blessing, but sometimes she does, she must, also bless, which is to say that she simply sees, and lifts her hand, as a sign.
I pick the baby up and we look in the wardrobe mirror, which has always been for her a complicated delight: What is it? It’s a baby! She smiles, it smiles back! (Complication upon complication! It’s me! It’s me! she says, and all her synapses, as I imagine, going ping! ping! ping!) She sees me smiling at her in the mirror; she sees her mother turning to smile at her in the room, and oh, it’s too much, she lunges forwards to examine the knob on the wardrobe door.
There are actually two knobs on the wardrobe. One is wooden and the other, for some reason, is an amber-coloured plastic. The baby goes from one to the other and back again. One of the first confusions in her young life was when myself and Martin both looked at her at the same time: ‘Oh no, there’s two of them.’ It almost felt unfair.
As she grew older, there was nothing she liked more than to be held by one of us and to look at the other, in a somewhat haughty way. Older still, she is completely content when the two of us are with her, quietly in a room. She has travelled from one, to two, perhaps to many. I think of this as she goes from the wooden knob to the amber one — a fairy tale of sameness and difference. This one. That one.
Of course, the first difference between this and the other is not between mother and father, or even between baby and ‘baby in the mirror’, but between one breast and . . . the other! If women had five teats, then mankind might, by now, be living on the moon.
Yesterday, it was warm, and I took off her socks and stood her on the grass. She loved this, but maybe not so much as I did — her first experience of grass. For her, this green stuff was just as different and as delicious as everything else — the ‘first’ was all mine. Sometimes, I feel as though I am introducing her to my own nostalgia for the world.
In the meantime, grass is green and springy and amazingly multiple and just itself. It might even be edible. Everything goes into her mouth. This is the taste of yellow. This is the taste of blue. Since she started moving about she has also experienced the taste of turf, of yesterday’s toast, and probably of mouse droppings, because it was weeks before I realised we were not alone in the house. Paper remains her ultimate goal, and she looks over her shoulder now to check if I am around. That wallpaper looks nice.
I really do wish I could remember my own wallpaper, instead of just the tear I made in it. The baby sleeps in my cot now — the one my father made over forty years ago with some half-inch dowel, and a fairly ingenious sliding mechanism for the side to be let down. I sat beside it one night, feeding her, and I tried to remember what it was like to be inside; the view between the bars and the ripped wallpaper on the wall. Someone, over the years, had painted it nursery blue, but I remembered a green colour, I could almost recall chewing the cross bar at the top. The baby sucked, her eyelashes batting slowly over a drunken, surrendered gaze, and as my attention wandered I saw, under a chip in the blue paint, the very green I ate as a child. A strong and distant emotion washed briefly over me and was gone.
My mother, or someone, pulled the cot away from the wall and, in time, the wallpaper I do not remember was replaced with wallpaper that I do remember (flowers of blue, block-printed on white). Babies love pattern so much I have begun to regret my own attempts at tastefulness. Not a single curlicued carpet for her to crawl over, not a single flower on the wall. Even her toys are in primary colours and her mobile is from the Tate, cut-out shapes, like a Mondrian floating free.
Once I stop trying, I seem to remember my mother giving out to me about the ripped-up wall. She would have been upset about the wallpaper. Perhaps this is why I remember it. It was my first real experience of ‘NO!’
My own child thinks No! is a game. I say it once and she pauses. I say it twice and she looks at me. I say it three times and she laughs. The punch-line!
Tasteful as it is, she loves the mobile. It has a big red circle that spins slowly to blue, and a little square that goes from black to white. There are various rectangles that don’t particularly obsess her but, taken all in all, it is the thing she likes most in the world.
We moved when she was nearly eight months old, and it was another two weeks before I got round to stringing up the mobile for her again. When it was done, she shuddered with delight. It happened to her all in spasm. She realised, not only that the mobile was there, but also that it had once been gone. She remembered it. In order to do this she needed to see three things: the mobile in the old flat, the new room without the mobile, the new room with the mobile. Memory is not a single thing.
Martin says that his first memory, which is of one brother breaking a blue plastic jug over another brother’s head, is false. His mother tells him that they never did have a slender, pale blue plastic jug. He thinks he dreamt about the jug, and that the dream also contained the idea that this was his first memory, as he dreamt a subsequent ‘first memory’ of people waving to him from a plane while he stood in the garden below. He was convinced for years that this was real. This makes me think that we are very young when we search for our first memory — that single moment when we entered the stream of time.
My own mother, who is curator and container of many things, among them the memory of my pot stand, worries that she is getting forgetful. The distant past is closer all the time, she says. If this is true, then the memory of her own mother is getting stronger now; sitting in a house by the sea, surrounded by children who are variously delighted, or worried, or concentrating on other things.
When you think about it, the pots can’t have stayed there for long. I would have pulled them down. There would have been noise, though my memory of them is notably, and utterly, silent. Perhaps what I remember is the calm before a chaos of sound and recrimination. That delicious, slow moment, when a baby goes very, very quiet, knowing it is about to be found out.
The other morning, the baby (silently) reached the seedlings I have under the window, and she filled her mouth with a handful of hardy annuals and potting compost. I tried to prise her mouth open to get the stuff out. She clamped it shut. She bit me (by accident). She started to cry. When she cried, her mouth opened. She was undone by her own distress and this seemed so unfair to me that I left her to it. I hadn’t the heart. Besides, it said on the pack that the compost was sterilised.
But she will not let my finger into her mouth, now, even to check for a tooth (she is very proud of her teeth), and when she clamps it shut and turns away she is saying, ‘Me,’ loud and clear. ‘Oh,’ a friend said, when she started to crawl, ‘it’s the beginning of the end,’ and I knew what she meant. It is the beginning of the end of a romance between a woman who has forgotten who she is and a child who does not yet know.
Until one day there will come a moment, delightful or banal, ordinary or strange, that she will remember for the rest of her life.
Anne Enright, 'Time' in Making Babies: Stumbling into Motherhood, London: Vintage, 2005, 65-72.
ความทรงจำแรกที่ฉันมีคือชั้นวางหม้อ มันตั้งอยู่ตรงมุมห้องระหว่างตู้กับข้าวกับขั้นบันไดขยักเตี้ยหลอกๆ ภาพในหัวของฉันเริ่มจากตรงนี้ บันไดขั้นนั้นนำทางไปสู่อีกห้อง และตรงสุดทางอีกฝั่งของห้องมีผู้หญิงผมขาวคนหนึ่งนั่งอยู่บนเก้าอี้
หลังปรึกษากับแม่ฉันได้คำยืนยันแค่เรื่องชั้นวางหม้อในกระท่อมริมทะเลตอนฤดูร้อนเมื่อฉันอายุได้หนึ่งขวบครึ่ง จากที่แม่บอก มันเป็นชั้นเหล็กสีดำและมันวางอยู่ข้างขั้นบันไดจริง และผู้หญิงผมขาวคนนั้นน่าจะเป็นแม่ของแม่ที่เสียไปตอนฉันอายุหกขวบ นี่คือภาพภาพเดียวของเธอที่ฉันมี แทบไม่ใช่ภาพด้วยซ้ำแต่เป็นแค่ความรู้สึก เธออาจจะกำลังหลับอยู่ แต่ฉันว่าเธอกำลังอ่านหนังสืออยู่ มันมีบางสิ่งที่เงียบงันและเร้นลับเกี่ยวกับชั้นวางหม้อชั้นนั้น ซึ่งเป็นทรงปีระมิดและมีชั้นเอาไว้วางหม้อได้สี่ใบ ฉันยังจำได้ว่ามีกระทะใบเล็กที่มีฝาปิดและด้ามจับวางอยู่ชั้นบนสุด ฉันอยากจะพูดว่ามันมีกระทะใบใหญ่อยู่ที่ชั้นล่างสุดด้วย แต่มันอาจจะเป็นการกล่าวเกินจริงไปหน่อย ฉันยอมแลกทุกอย่างเลยเพื่อจะจดจำได้ว่าเสื่อน้ำมันหน้าตาเป็นยังไง
ตอนอายุเก้าเดือน เด็กน้อยเอาหัวมุดเข้าไปในหม้อและร้อง อาห์ อาห์ อาห์ ด้วยเสียงแผ่วเบาแล้วรอฟังเสียงสะท้อนกลับ คุณเธอค้นพบว่าทำแบบนี้ได้ด้วยตัวเองเลยนะ เพื่อฉลองการค้นพบนี้ ฉันเลยเอาหัวมุดเข้าไปในหม้อและร้อง อาห์ อาห์ อาห์ บ้าง แล้วเธอก็ทำตาม แล้วฉันก็ทำอีก แล้วเราก็ผลัดกันทำไปเรื่อยๆ
คนอื่นๆ ในครอบครับไม่เชื่อเลยว่าฉันจำชั้นวางหม้อชั้นนั้นได้ เพราะมันดูเป็นความทรงจำที่ไร้สาระ และถึงจะไม่เป็นเช่นนั้นพวกเขาก็คิดว่าฉันเด็กเกินกว่าที่จะจำอะไรได้ มันเป็นหน้าที่ของคนในครอบครัวอยู่แล้วที่จะคอยปฏิเสธความทรงจำของกันและกัน ปฏิเสธแม้กระทั่งเรื่องดีๆ และเพราะว่าฉันอายุน้อยที่สุดในบ้าน บางครั้งฉันเลยถูกบังคับให้ต้องต่อสู้เพื่อปกป้องสิ่งที่จำได้ในหัวตัวเอง แต่ฉันจำได้ว่าพี่ชายฉันทำข้อศอกหักตอนฤดูร้อนปีนั้น แม่เลยต้องพาเขาไปหาหมอที่โรงพยาบาลในดับลิน ยายเป็นคนคอยดูแลพวกเราตอนแม่ไม่อยู่ นั่นเป็นครั้งแรกในชีวิตที่ฉันต้องอยู่ห่างจากแม่ไม่ว่าจะเป็นระยะเวลานานแค่ไหนก็ตาม ถ้าตอนนั้นแม่อยู่ด้วย ฉันมั่นใจว่าฉันจะจำอะไรเกี่ยวกับบ้านหลังนั้นไม่ได้เลย ไม่ว่าจะเป็นชั้นวางหม้อ หรือแม้กระทั่งตัวคุณยายเอง
เราลักขโมยความทรงจำของเรา เราขโมยมันมาจากโลกภายนอก และเก็บมันมาซ่อนเอาไว้คนเดียว
ฉันห่างเด็กน้อยครั้งแรกตอนเธออายุสี่เดือน บางวันที่ฉันไม่อยู่เธอจะไปอยู่กับแม่ของฉัน ฉันสงสัยว่าภาพทรงจำแบบไหนกันนะที่จะติดตัวเธอไปจากช่วงเวลานั้น สี กลิ่น อาจจะเป็นส่วนผสมของรูปทรง ไร้อารมณ์และนิ่งงัน และไกลห่างออกไปในความทรงจำก็จะมีคนคนหนึ่ง มันก็แค่นั้น คนคนหนึ่ง
แล้วด้านหน้าของภาพล่ะ คงเป็นพรมล่ะมั้ง ฉันหวังว่าเด็กน้อยจะจำพรมที่บ้านพ่อแม่ฉันได้นะ พรมที่ฉันจำได้ตอนยังเป็นเด็ก พรมที่มีลายใบไม้สีเขียวเหมือนหินที่เรียงกันเป็นทางเดินยาวไปตามโถงของบ้าน
ฉันยังมีความทรงจำอีกเรื่องหนึ่ง อาจจะย้อนไปไกลกว่าเดิมด้วยซ้ำ เป็นความทรงจำตอนแกะวอลเปเปอร์ออกจากผนังระหว่างซี่กรงของเปลที่ฉันนอน ในภาพนั้นไม่มีแม่อยู่ แต่ถึงแม้ว่าเจ้าความทรงจำของชั้นวางหม้อจะไม่ใช่ความทรงจำที่สุขหรือทุกข์ มันกลับเป็นความทรงจำที่น่าตื่นเต้นเสียทีเดียว ฉันเกือบจะกินกระดาษเข้าไปอยู่แล้ว พลาสเตอร์ที่อยู่ใต้กระดาษเป็นสีชมพูและเป็นผงๆ ฉันจินตนาการได้เลยตอนนี้ว่ายังจำรสชาติของความประหม่าตอนกินมันลงไปได้ดี ฉันยังจำรูปทรงของรอยฉีกบนผนังได้ หรืออย่างน้อยฉันก็คิดว่าจำได้นะ ยังไงก็ตามฉันว่าฉันเห็นภาพนี้ในหัว มีรอยตะเข็บอยู่ทางซ้าย เส้นของมันตรงอย่างน่าอัศจรรย์ และมีลายทางอยู่สี่เส้นทางขวามือที่หลุดลุ่ยออกมาราวกับเป็นกลุ่มนิ้วอ้วนๆ เน่าๆ
ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งฉันรู้ว่าความทรงจำนี้เป็นเรื่องจริง แต่เมื่อไรก็ตามที่ฉันวิ่งไล่จับมัน มันก็จะจางหายไป มันเป็นความทรงจำที่มีตัวตนอยู่บริเวณชายขอบของการมองเห็น และจะปรากฏตัวก็ต่อเมื่อฉันพยายามเพ่งความสนใจไปที่อะไรอย่างอื่น เช่น ตอนพิมพ์งาน ตอนฉันเขียนประโยคนี้เสร็จและเงยหน้าจากจอเพื่อพยายามนึกภาพลายวอลเปเปอร์ แต่มันกลับว่างเปล่า ความทรงจำโดยธรรมชาติแล้วไม่ใช่สิ่งที่เราจะสำรวจตรวจสอบได้ และดวงตาที่ใช้มองภาพในหัวสมองก็ไม่ใช่ตาที่เราจะใช้จริงๆ ตัวอย่างเช่น ไม่ได้ใช้มองเวลาที่เราข้ามถนน
ฉันอดนึกสงสัยไม่ได้ว่านี่คือวิธีที่เด็กน้อยมองเห็นสิ่งต่างๆ หรือไม่นะ คลุมเครือและปรากฏขึ้นมาท่วมท้นในเวลาเดียวกัน มันคงเป็นการดำรงอยู่ในโลกที่สะเทือนอารมณ์เป็นที่สุด ฉันอาจจะมองแบบจินตนิยมเพ้อฝันไปหน่อย แต่โลกแห่งการมองเห็นให้แต่ความสุขกับเธอ (ดูเหมือนว่า)ในโลกใบนั้นมันไม่มีความน่ากลัวสยดสยองอยู่เลย เด็กทารกตัวน้อยมองเห็นแต่เพียงสีเดียว ฉันจินตนาการถึงสีต่างๆ หลั่งไหลเข้าสู่สมองของเธอ เหมือนหน้าจอที่ค่อยๆ ปรับสีช้าๆ ช้าอย่างเอื่อยๆ เหมือนต้นทีวีที่แอบโตขึ้นมาอย่างเฉื่อยๆ อยู่ตรงมุมห้อง ฉันจินตนาการว่าโฟกัสของเธอค่อยๆ คมขึ้นและลึกขึ้น เหมือนช่างกล้องที่เมายาตลอดเวลาคอยปรับกล้องของเขา เธอร้องว่า “โอ้” หรือเสียงสักเสียงที่เธอออกได้ก่อนจะเริ่มพูดคำว่า “โอ้” เสียงสูดลมหายใจสั้นๆ ความนิ่งงันเหมือนจู่ๆ เธอก็สนใจอะไรบางอย่างขี้นมา เริ่มแอบตามมันอย่างระมัดระวังตัวและหลงใหลใคร่รู้ มันเป็นเสียงที่ไพเราะที่สุดในโลก เสียงลมหายใจของเด็กตอนตกอยู่ในภวังค์ของความอัศจรรย์ใจ
มีอะไรบางอย่างมากระตุกหัวใจฉันทุกครั้งที่เด็กน้อยหยุดนิ่งไปแบบนี้ ตลอดเวลาหลายเดือน ฉันตกเป็นเป็นทาสที่เฝ้าคอยความสนใจจากเธอ โลกของเด็กมีแต่สี แสง พื้นผิว และฉันเป็นเพื่อนร่วมประสบการณ์ผู้แสนภาคภูมิใจของเธอ ฉันไม่มีทางเลือกหรอก ไม่มีแม่คนไหนมี ครั้งหนึ่งในร้านกาแฟ ผู้หญิงสามคนมองมาและยิ้มให้เธอ และพร้อมๆ กันนั้น พวกเขามองขึ้นไปบนเพดาน “อ๋อ แม่หนูเธอชอบแสงไฟสินะ” ผู้หญิงคนหนึ่งพูดขึ้น และความจริงข้อนี้ทำให้พวกเราสุขใจ อย่างท่วมท้นมากมายเหลือเกิน
แน่นอนล่ะว่าแสงไฟมันไม่ได้ดูดีเลย และนี่คือเหตุผลหนึ่งที่แม่ๆ คิดว่าตัวเองกำลังเป็นบ้าไปแล้ว ที่รู้สึกภูมิอกภูมิใจเวลาเห็นลูกจ้องมองแสงไฟ ภาคภูมิใจในแสงไฟตอนที่พวกเขาแนะนำมันให้เด็กรู้จัก “ใช่ นี่แหละจ้ะแสงไฟ!” มันเป็นภาวะนิ่งสงบแบบเซน โลกอันแสนเรียบง่ายและสดใหม่ เมื่อเราหยุดทุกสิ่งเพื่อชื่นชมเด็กน้อยผู้กำลังชื่นชมเชิงเทียนเหล็กดัดที่มีชิ้นส่วนประหลาดๆ ห้อยต่องแต่งลงมา และหลอดไฟสว่างทรงดอกทิวลิปห้าหลอด ใช่ ห้าหลอดเลย!
ยังอีกหลายปีเลยกว่าเด็กน้อยจะรู้ว่า “ห้า” หมายความว่ายังไง แต่บางทีเธออาจจะเข้าใจ “ภาวะความเป็นห้า” ของเลขห้าแล้วก็ได้ นี่คือวิธีที่ตาของเธอขยับ หนึ่ง อีกหนึ่ง! นี่ก็อีกหนึ่ง! ทั้งหมดเลย! อีกสองอันที่เหลือ กลับมาอันแรกอีกครั้ง อีกอัน! อย่างอื่นด้วย
บางครั้งเธอยกมือขึ้นราวกับพระเยซูคริสต์องค์น้อย ดูเหมือนว่าเธอเป็นที่เก็บกักของทุกสรรพสิ่ง และเป็นผู้ตื่นรู้ทุกอย่าง ฉันไม่ได้ต้องการการประทานอภัยจากบาป แต่ก็ยังรู้สึกว่าได้ชำระล้างบาปจากความสมบูรณ์หมดจดของสายตาที่เด็กน้อยจ้องมองมา รู้สึกว่าได้รับการไถ่ชำระบาปจากข้อมืออ้วนป้อม และมืออันอวบอิ่มละเอียดอ่อนไม่เคยเปลี่ยนของเธอ เด็กน้อยคือพรอันน่าปิติ แต่บางครั้งตัวเด็กเองก็เป็นผู้ประทานพร และต้องประทานพรให้กับผู้อื่น ซึ่งนั่นหมายความว่าเธอแค่เพียงมองดู และยกมือของเธอขึ้น เป็นดั่งสัญญาณอันศักดิ์สิทธิ์
ฉันอุ้มเด็กทารกน้อยขึ้นและเราทั้งสองมองไปในกระจกหน้าตู้เสื้อผ้า กระจกเป็นความเริงร่าที่แสนซับซ้อนของเธอมาโดยตลอด นั่นอะไรน่ะ นั่นมันเด็กน้อยนี่! เธอยิ้ม แล้วเด็กในกระจกก็ยิ้มตอบ! (มันคือความซับซ้อนในซ้อน นี่ฉันเอง! นี่ฉันเอง! เธอบอก และจุดเชื่อมต่อระหว่างเซลล์ต่างๆ ในสมองของเธอ ตามที่ฉันจินตนาการดู คงจะส่งเสียง ปิ๊ง! ปิ๊ง! ปิ๊ง!) เด็กเห็นว่าฉันกำลังยิ้มให้ในกระจก และเห็นแม่ของเธอหันมายิ้มให้เธอในห้อง โอ้โห มันมากเกินไปแล้ว เธอพุ่งไปข้างหน้าเพื่อสำรวจปุ่มจับประตูตู้เสื้อผ้า
จริงๆ แล้วมันมีปุ่มจับอยู่สองอันบนตู้เสื้อผ้า อันหนึ่งเป็นไม้ และอีกอันไม่รู้ว่าเพราะอะไรถึงเป็นพลาสติกสีเหลืองอำพันแทน เด็กน้อยมองจากอันแรกไปยังอีกอันหนึ่ง และกลับไปอันแรกอีก หนึ่งในความสับสนแรกในชีวิตวัยเยาว์ของเธอคือตอนที่ทั้งฉันและมาร์ตินมองเธอพร้อมกันสองคน “ไม่นะ พวกเขามีสองคน” มันเกือบจะไม่ยุติธรรมเอาเสียเลย
ยิ่งเด็กน้อยโตขึ้น ไม่มีอะไรที่เธอจะชอบมากไปกว่าการให้เราคนใดคนหนึ่งอุ้มและมองอีกคนหนึ่งไปพร้อมกัน ด้วยสายตาคล้ายคนหยิ่งยะโส พอโตขึ้นมาอีก เธอจะพอใจมากเวลาเราสองคนอยู่ในห้องกับเธอพร้อมกันเงียบๆ เธอเดินทางจากหนึ่ง ไปสอง และอาจจะไปอีกหลายๆ ที่ ฉันคิดถึงเรื่องนี้ตอนที่มองดูเด็กน้อยจ้องปุ่มจับไม้และเปลี่ยนไปอันที่เป็นพลาสติก เทพนิยายของความเหมือนและความต่าง อันนี้ อันนั้น
แน่นอน ความแตกต่างแรกระหว่างอันนี้และอันนั้นที่เธอสังเกตเห็นไม่ใช่ระหว่างแม่และพ่อ หรือกระทั่งระหว่างเด็กน้อยกับ “เด็กน้อยในกระจก” แต่มันคือความต่างระหว่างหน้าอกข้างหนึ่งกับอีกข้างต่างหาก! ถ้าผู้หญิงมีหัวนมห้าหัว มนุษยชาติตอนนี้อาจจะอาศัยอยู่บนดวงจันทร์ไปแล้วก็ได้
เมื่อวานนี้อากาศอบอุ่น ฉันเลยถอดถุงเท้าของเธอออกแล้วพาเธอไปยืนบนหญ้า เธอชอบมันมาก แต่คงไม่มากเท่าที่ฉันชอบประสบการณ์ครั้งแรกของเธอกับหญ้าหรอก สำหรับเธอไอ้อะไรสีเขียวๆ นี้มันก็แตกต่างและเอร็ดอร่อยเพลิดเพลินเหมือนกับทุกอย่างที่เจอมานั่นแหละ ไอ้ “ครั้งแรก” มันเป็นแค่ของฉันคนเดียว บางครั้งฉันรู้สึกเหมือนกำลังแนะนำลูกให้รู้จักกับโลกในอดีตที่ฉันโหยหาเอง
ในเวลาเดียวกัน หญ้านั้นสีเขียวขจี เด้งได้ มากมายเกินคณานับ แถมยังเป็นตัวของมันเอง เผลอๆ อาจจะกินได้ด้วย ทุกอย่างถูกเด็กน้อยหยิบใส่ปาก อันนี้รสชาติสีเหลือง อันนี้รสชาติสีน้ำเงิน ตั้งแต่เธอเริ่มไปนู่นไปนี่ได้เธอก็เริ่มได้ลิ้มรสของสนามหญ้า ของขนมปังค้างคืน และอาจจะมูลของหนูด้วย เพราะฉันเพิ่งรู้หลังจากหลายสัปดาห์แล้วว่าในบ้านไม่ได้มีแค่พวกเรา กระดาษยังคงเป็นเป้าหมายสูงสุดของเธอ เดี๋ยวนี้เธอชอบเหลียวหลังมองว่าฉันอยู่แถวนั้นหรือเปล่า วอลเปเปอร์ตรงนั้นมันดูน่ากินจัง
ฉันหวังจริงๆ ว่าจะจำวอลเปเปอร์ตอนเด็กของตัวเองได้ ไม่ใช่จำได้แค่รอยฉีกของมัน ปัจจุบันเด็กน้อยนอนในเปลของฉัน เปลหลังที่พ่อฉันทำให้เมื่อกว่าสี่สิบปีที่แล้วด้วยเดือยไม้หนาครึ่งนิ้วและกลไกที่ค่อนข้างชาญฉลาดเอาไว้เลื่อนกรงด้านข้างลง คืนหนึ่งฉันไปนั่งข้างเปลและป้อนนมเธอ ฉันพยายามจำความรู้สึกตอนที่ตัวเองอยู่ในเปล จำทิวทัศน์ที่มองผ่านซี่กรงและวอลเปเปอร์ที่ฉีกออกมาจากผนัง ไม่รู้ตอนไหนที่ใครสักคนทาสีเปลเป็นสีฟ้าอ่อน แต่ฉันจำได้ว่ามันเป็นสีเขียว เหมือนจะจำได้ด้วยว่าเคยเคี้ยวคานด้านบนของมัน เด็กน้อยดูดนม ขนตาของเธอกระพริบช้าๆ ด้วยความมึนง่วง ดวงตาเกือบจะปิดอยู่รอมร่อ ขณะที่ภวังค์ความคิดของฉันกำลังล่องลอยไปที่อื่นฉันก็สังเกตว่าใต้รอยแตกล่อนของสีฟ้ามีสีเขียวที่ฉันเคยกินเข้าไปตอนเด็กอยู่ ชั่วขณะหนึ่งความรู้สึกที่รุนแรงและห่างไกลออกไปก็เอ่อล้นขึ้นในใจฉัน และก็จางหายไป
แม่ฉัน หรือใครสักคนนี่แหละ เป็นคนดึงเปลให้ออกห่างจากผนัง และหลังจากนั้นไม่นานวอลเปเปอร์ที่ฉันจำไม่ได้ก็ถูกเปลี่ยนเป็นอันที่ฉันจำได้ (ดอกไม้สีฟ้าพิมพ์ลายด้วยบล็อกบนพื้นหลังขาว) เด็กๆ ชอบลวดลายมากเสียจนฉันเริ่มเสียดายที่ตัวเองพยายามมีรสนิยมมากไป ไม่มีพรมลายม้วนให้เด็กน้อยคลานเล่น ไม่มีดอกไม้สักดอกบนผนัง แม้แต่ของเล่นเธอยังเป็นแค่แม่สี โมบายก็ซื้อมาจากหอศิลป์เทต เป็นรูปทรงตัดแปะเหมือนภาพศิลปะของมอนเดรียน ที่แยกส่วนกระจัดกระจายอยู่
ตอนที่ฉันเลิกพยายาม ฉันเหมือนจะเริ่มจำได้ว่าแม่เคยบ่นเรื่องผนังฉีกขาด แม่น่าจะหัวเสียน่าดูเรื่องวอลเปเปอร์ นั่นอาจจะเป็นสาเหตุที่ฉันจำมันได้ มันเป็นประสบการณ์แรกที่ฉันได้ยินคำว่า “ไม่!”
ลูกฉันคิดว่า “ไม่!” เป็นเกม ถ้าฉันพูดครั้งแรกเธอจะหยุดไปชั่วคราว ถ้าพูดครั้งที่สองเธอจะมองฉัน ถ้าพูดครั้งที่สามเธอจะหัวเราะ นั่นแหละมุกเด็ดที่สุดสำหรับเธอ!
แม้มันจะมีรสนิยมขนาดไหน ลูกฉันก็ชอบโมบายเอามากๆ มันมีวงกลมสีแดงวงใหญ่ที่หมุนช้าๆ จนเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน และสี่เหลี่ยมจัตุรัสเล็กๆ ที่เปลี่ยนจากดำเป็นขาว ยังมีสี่เหลี่ยมผืนผ้าอื่นๆ ที่ไม่ได้ประทับใจเธอขนาดนั้น แต่โดยรวมแล้วโมบายชิ้นนี้เป็นสิ่งที่เธอชอบมากที่สุดในโลกเลย
เราย้ายบ้านตอนเธออายุเกือบแปดเดือน หลังจากนั้นสองเดือนฉันถึงมีเวลาเอาโมบายไปติดให้เธออีกครั้ง ตอนทำเสร็จเด็กน้อยดีใจจนตัวสั่น ภาพทุกอย่างปรากฏกับเธอโดยกระตุกเป็นช่วง เธอรู้แล้วว่าไม่ใช่แค่โมบายอยู่ตรงนั้น แต่รู้ด้วยว่ามันเคยหายไป เธอจำมันได้ และการจะทำสิ่งนี้ได้เธอต้องเห็นภาพสามภาพพร้อมกัน ภาพโมบายในแฟลตที่เราเคยอยู่ ห้องใหม่ที่ไม่มีโมบาย และห้องใหม่ที่มีโมบาย ความทรงจำไม่ใช่อะไรที่เป็นเอกพจน์
มาร์ตินเคยบอกว่าความทรงจำแรกของเขาเกี่ยวกับพี่ชายคนหนึ่งเอาเหยือกพลาสติกสีฟ้าตีหัวพี่ชายอีกคนจนแตกเป็นเรื่องไม่จริง แม่เขาบอกว่าที่บ้านไม่เคยมีเหยือกพลาสติกทรงเรียวสีฟ้าอ่อน เขาคิดว่าเขาฝันถึงเหยือกใบนั้น และในความฝันนั้นมีไอเดียว่านี่คือความทรงจำแรก เพราะหลังจากนั้นเขายังฝันต่อถึง “ความทรงจำแรก” ซึ่งเป็นภาพคนกำลังโบกมือให้เขาจากเครื่องบินขณะที่เขายืนมองจากสวนด้านล่าง เขาเชื่ออยู่หลายปีว่านี่คือเรื่องจริง มันเลยทำให้ฉันคิดว่าพวกเราคงเด็กมากตอนเราตามหาความทรงจำแรก ห้วงเวลาหนึ่งนั้นที่เราเข้าสู่สายธารของเวลา
แม่ของฉัน ผู้ซึ่งเป็นทั้งภัณฑารักษ์และภาชนะเก็บสะสมหลายสิ่งหลายอย่าง รวมถึงความทรงจำเกี่ยวกับชั้นวางหม้อของฉันด้วย ชักจะกังวลว่าเธอเริ่มจะขี้ลืมมากขึ้นทุกวัน แม่บอกว่าอดีตอันไกลมันใกล้เข้ามามากขึ้นอยู่ตลอดเวลา ถ้านี่เป็นความจริง ความทรงจำเกี่ยวกับแม่ของแม่เองก็น่าจะเริ่มชัดขึ้นในปัจจุบัน ความทรงจำตอนที่นั่งอยู่ในบ้านริมทะเล รายล้อมไปด้วยเด็กๆ ที่ทั้งกำลังสนุกสนาน กังวล และใจจดใจจ่อกับบางสิ่ง
ถ้ามาคิดดูจริงๆ หม้อพวกนั้นคงอยู่ในชั้นไม่ได้นานหรอก ฉันน่าจะดึงมันลงมาแล้ว มันต้องมีเสียงดังแน่ๆ แม้ในความทรงจำของฉันเรื่องนี้จะเงียบงัน ไร้ซึ่งเสียงใดๆ อย่างชัดเจนโดยสิ้นเชิง บางทีสิ่งที่ฉันจำได้อาจจะเป็นช่วงเวลาสงบก่อนความวุ่นวายของสรรพเสียง และการก่นด่ากันโกลาหล ช่วงเวลาอันงดงามอ้อยอิ่งอันแสนเพลิดเพลินที่เด็กน้อยจะเงียบกริบพราะรู้ตัวว่ากำลังจะถูกจับได้
เช้าวันก่อนเด็กน้อย(แอบ)ไปหยิบต้นอ่อนที่ฉันเก็บไว้ใต้บานหน้าต่างและเอาต้นกล้าพืชฤดูเดียวพร้อมกับดินเพาะกล้ากำมือหนึ่งมาใส่ปาก ฉันพยายามงัดปากเธอเพื่อจะเอามันออก แต่เธองับปากไว้แน่นและกัดฉัน(โดยบังเอิญ) เธอเริ่มร้องไห้ และตอนร้องไห้นี่เองที่ปากเธออ้าออก เธอคุมตัวเองไม่อยู่เพราะความโศกเศร้าเสียใจ และมันดูไม่ยุติธรรมสำหรับเธอเลย ฉันจึงปล่อยให้เด็กน้อยกินมัน ฉันทำใจบังคับเธอไม่ได้ นอกจากนั้นแล้วบนถุงดินก็เขียนไว้ว่าปราศจากเชื้อโรค
แต่ยังไงๆ เด็กน้อยก็ไม่ยอมให้ฉันเอานิ้วใส่ปากจนกระทั่งทุกวันนี้ แม้แต่เพื่อจะไปเช็คดูว่าฟันขึ้นแล้วหรือยัง (คุณเธอภูมิใจกับฟันมาก) และเวลาเธอปิดปากแน่นสนิทและหันหน้าหนีเธอกำลังบอกว่า “ฉัน” เสียงดังฟังชัด “ตายจริง” เพื่อนฉันคนหนึ่งเคยบอกตอนที่เด็กน้อยเริ่มคลาน “จุดจบกำลังเริ่มขึ้นแล้ว” และฉันรู้ว่าเพื่อนหมายความว่ายังไง มันเป็นจุดเริ่มต้นของจุดจบของเรื่องราวความรักระหว่างผู้หญิงที่ลืมไปแล้วว่าเธอเป็นใครและเด็กน้อยที่ยังไม่รู้จักตัวเอง
คงมีสักวันที่ช่วงเวลานั้นจะมาถึง ไม่ว่าจะสนุกสนานหรือน่าเบื่อ ธรรมดาทั่วไปหรือแปลกประหลาด ช่วงเวลาที่เธอจะจดจำได้ไปตลอดชีวิตของเธอ
My earliest memory is of a pot stand. It is set into a corner with a cupboard on one side and, on the other, a shallow step. This is where my head begins. The step leads to another room, and far on the other side of the room, there is a white-haired woman sitting in a chair.
Discussions with my mother lead to just one pot stand, in a seaside cottage the summer I was eighteen months old. It was, she says, made of black iron and it stood beside a real step and the white-haired woman must be her own mother who died when I was six. This image of her is all that I have, and even then it is not so much an image as a sense. She may have been asleep, but I think she was reading. And there was something very quiet and covert about the pot stand, which was a pyramid affair with shelves for four pots. I can remember a little saucepan on the top shelf. I am tempted to say that there was a big saucepan on the bottom one, but this is pushing things a bit. I would give anything to remember what the lino was like.
At nine months, the baby puts her head in a pot and says, Aaah Aaah Aaah. She says it very gently and listens to the echo. She has discovered this all by herself. By way of celebration, I put my own head into the pot and say, Aaah Aaah Aaah. Then she does it again. Then I do it again. And so on.
The rest of my family don’t believe that I remember the pot stand, on the grounds that it is a stupid memory and, anyway, I was far too young. It is the job of families to reject each other’s memories, even the pleasant ones, and being the youngest I am sometimes forced to fight for the contents of my own head. But my brother broke his elbow that summer. My mother had to take him to hospital in Dublin and my grandmother looked after us while she was away. This was the first time in my life that I was without my mother for any length of time. If she had stayed, then am certain that I would not have remembered anything at all of that house — not the pot stand, and not my grandmother either.
We pilfer our own memories, we steal them from the world and salt them away.
I first left the baby when she was four months old. Some of the days when I was away, she spent with my mother. I wonder what image might remain with her from that time: a colour, a smell, a combination of shapes perhaps, affectless and still — and in the distance, someone. Just that. Someone.
And in the foreground? The carpet perhaps. I hope she remembers my parents’ carpet, the one I remember as a child, with a pattern of green leaves like stepping-stones all the way down the hall.
I have another, possibly earlier, memory of pulling the wallpaper off the wall from between the bars of my cot. My mother is absent from this scene too, but though the Pot Stand Memory is neither happy nor unhappy, this one is quite thrilling. I almost certainly ate the paper. The plaster underneath it was pink and powdery, and I imagine now that I can remember the shivery taste of it. I also remember the shape of the tear on the wall, or I think I do. At any rate, I see it in my mind’s eye — a seam on the left, stunningly straight, with four gammy strips pulled away, like a fat raggedy set of fingers, on the right.
I know this memory is, in some sense, true, but when I try to chase it, it disappears. It exists in peripheral vision, and presents itself only when I focus on something else — like typing, for example. When I stop writing this sentence and look up from the screen to try to see the pattern of the wallpaper — a blank. Memories, by their nature, may not be examined, and the mind’s eye is not the eye we use, for example, to cross the road.
I wonder if this is the way that the baby sees things: vaguely and all at once. I imagine it to be a very emotional way to exist in the world. Perhaps I am being romantic — but the visual world yields nothing but delight to her. There are (it seems) no horrors, no frights. Tiny babies see only in monochrome. I imagine colour leaking into her head like a slowly adjusted screen — tremendously slow, like a vegetable television growing silently in the corner of the room. I imagine her focus becoming sharper and deeper, like some infinitely stoned cameraman adjusting his lens. ‘Oh,’ she says — or something that is the precursor to ‘Oh’, a shallow inhalation, a stillness as she is caught by something, and begins to stalk it: careful, rapt — the most beautiful sound in the world: the sound of a baby’s wondering breath.
Something pulls in me when she is caught like this. For months I am a slave to her attention. The world is all colour, light and texture and I am her proud companion. I have no choice. None of us do. In a café, three women look over to smile at her, and then, as one, they look up. ‘Oh, she likes the light,’ says one, and this fact pleases us all. Immensely.
The light, of course, is horrible, and this is one of the reasons mothers think they are losing their minds: this pride in the baby looking at the light, this pride in the light as they introduce it to the baby, ‘Yes, the light!’ There is a certain zen to it; the world simple and new as we all stop to admire the baby admiring a wrought-iron candelabra with peculiar dangly bits and five — yes, five! — glowing, tulip-shaped bulbs.
She is years away from knowing from what ‘five’ might be, but maybe she already gets the ‘fiveness’ of it. This is the way her eyes move: One, one more! Another one! All of them! The other two. The first one again, another one! Something else.
Sometimes she holds her hand up like the baby Christ, and looks as though she contains everything, and understands it all. I do not ask to be forgiven, but still I feel redemption in the completeness of her gaze. And I feel the redemption in her fat baby wrists and her infinitely fine, fat baby’s hand. The baby is a blessing, but sometimes she does, she must, also bless, which is to say that she simply sees, and lifts her hand, as a sign.
I pick the baby up and we look in the wardrobe mirror, which has always been for her a complicated delight: What is it? It’s a baby! She smiles, it smiles back! (Complication upon complication! It’s me! It’s me! she says, and all her synapses, as I imagine, going ping! ping! ping!) She sees me smiling at her in the mirror; she sees her mother turning to smile at her in the room, and oh, it’s too much, she lunges forwards to examine the knob on the wardrobe door.
There are actually two knobs on the wardrobe. One is wooden and the other, for some reason, is an amber-coloured plastic. The baby goes from one to the other and back again. One of the first confusions in her young life was when myself and Martin both looked at her at the same time: ‘Oh no, there’s two of them.’ It almost felt unfair.
As she grew older, there was nothing she liked more than to be held by one of us and to look at the other, in a somewhat haughty way. Older still, she is completely content when the two of us are with her, quietly in a room. She has travelled from one, to two, perhaps to many. I think of this as she goes from the wooden knob to the amber one — a fairy tale of sameness and difference. This one. That one.
Of course, the first difference between this and the other is not between mother and father, or even between baby and ‘baby in the mirror’, but between one breast and . . . the other! If women had five teats, then mankind might, by now, be living on the moon.
Yesterday, it was warm, and I took off her socks and stood her on the grass. She loved this, but maybe not so much as I did — her first experience of grass. For her, this green stuff was just as different and as delicious as everything else — the ‘first’ was all mine. Sometimes, I feel as though I am introducing her to my own nostalgia for the world.
In the meantime, grass is green and springy and amazingly multiple and just itself. It might even be edible. Everything goes into her mouth. This is the taste of yellow. This is the taste of blue. Since she started moving about she has also experienced the taste of turf, of yesterday’s toast, and probably of mouse droppings, because it was weeks before I realised we were not alone in the house. Paper remains her ultimate goal, and she looks over her shoulder now to check if I am around. That wallpaper looks nice.
I really do wish I could remember my own wallpaper, instead of just the tear I made in it. The baby sleeps in my cot now — the one my father made over forty years ago with some half-inch dowel, and a fairly ingenious sliding mechanism for the side to be let down. I sat beside it one night, feeding her, and I tried to remember what it was like to be inside; the view between the bars and the ripped wallpaper on the wall. Someone, over the years, had painted it nursery blue, but I remembered a green colour, I could almost recall chewing the cross bar at the top. The baby sucked, her eyelashes batting slowly over a drunken, surrendered gaze, and as my attention wandered I saw, under a chip in the blue paint, the very green I ate as a child. A strong and distant emotion washed briefly over me and was gone.
My mother, or someone, pulled the cot away from the wall and, in time, the wallpaper I do not remember was replaced with wallpaper that I do remember (flowers of blue, block-printed on white). Babies love pattern so much I have begun to regret my own attempts at tastefulness. Not a single curlicued carpet for her to crawl over, not a single flower on the wall. Even her toys are in primary colours and her mobile is from the Tate, cut-out shapes, like a Mondrian floating free.
Once I stop trying, I seem to remember my mother giving out to me about the ripped-up wall. She would have been upset about the wallpaper. Perhaps this is why I remember it. It was my first real experience of ‘NO!’
My own child thinks No! is a game. I say it once and she pauses. I say it twice and she looks at me. I say it three times and she laughs. The punch-line!
Tasteful as it is, she loves the mobile. It has a big red circle that spins slowly to blue, and a little square that goes from black to white. There are various rectangles that don’t particularly obsess her but, taken all in all, it is the thing she likes most in the world.
We moved when she was nearly eight months old, and it was another two weeks before I got round to stringing up the mobile for her again. When it was done, she shuddered with delight. It happened to her all in spasm. She realised, not only that the mobile was there, but also that it had once been gone. She remembered it. In order to do this she needed to see three things: the mobile in the old flat, the new room without the mobile, the new room with the mobile. Memory is not a single thing.
Martin says that his first memory, which is of one brother breaking a blue plastic jug over another brother’s head, is false. His mother tells him that they never did have a slender, pale blue plastic jug. He thinks he dreamt about the jug, and that the dream also contained the idea that this was his first memory, as he dreamt a subsequent ‘first memory’ of people waving to him from a plane while he stood in the garden below. He was convinced for years that this was real. This makes me think that we are very young when we search for our first memory — that single moment when we entered the stream of time.
My own mother, who is curator and container of many things, among them the memory of my pot stand, worries that she is getting forgetful. The distant past is closer all the time, she says. If this is true, then the memory of her own mother is getting stronger now; sitting in a house by the sea, surrounded by children who are variously delighted, or worried, or concentrating on other things.
When you think about it, the pots can’t have stayed there for long. I would have pulled them down. There would have been noise, though my memory of them is notably, and utterly, silent. Perhaps what I remember is the calm before a chaos of sound and recrimination. That delicious, slow moment, when a baby goes very, very quiet, knowing it is about to be found out.
The other morning, the baby (silently) reached the seedlings I have under the window, and she filled her mouth with a handful of hardy annuals and potting compost. I tried to prise her mouth open to get the stuff out. She clamped it shut. She bit me (by accident). She started to cry. When she cried, her mouth opened. She was undone by her own distress and this seemed so unfair to me that I left her to it. I hadn’t the heart. Besides, it said on the pack that the compost was sterilised.
But she will not let my finger into her mouth, now, even to check for a tooth (she is very proud of her teeth), and when she clamps it shut and turns away she is saying, ‘Me,’ loud and clear. ‘Oh,’ a friend said, when she started to crawl, ‘it’s the beginning of the end,’ and I knew what she meant. It is the beginning of the end of a romance between a woman who has forgotten who she is and a child who does not yet know.
Until one day there will come a moment, delightful or banal, ordinary or strange, that she will remember for the rest of her life.
Anne Enright, 'Time' in Making Babies: Stumbling into Motherhood, London: Vintage, 2005, 65-72.
ความทรงจำแรกที่ฉันมีคือชั้นวางหม้อ มันตั้งอยู่ตรงมุมห้องระหว่างตู้กับข้าวกับขั้นบันไดขยักเตี้ยหลอกๆ ภาพในหัวของฉันเริ่มจากตรงนี้ บันไดขั้นนั้นนำทางไปสู่อีกห้อง และตรงสุดทางอีกฝั่งของห้องมีผู้หญิงผมขาวคนหนึ่งนั่งอยู่บนเก้าอี้
หลังปรึกษากับแม่ฉันได้คำยืนยันแค่เรื่องชั้นวางหม้อในกระท่อมริมทะเลตอนฤดูร้อนเมื่อฉันอายุได้หนึ่งขวบครึ่ง จากที่แม่บอก มันเป็นชั้นเหล็กสีดำและมันวางอยู่ข้างขั้นบันไดจริง และผู้หญิงผมขาวคนนั้นน่าจะเป็นแม่ของแม่ที่เสียไปตอนฉันอายุหกขวบ นี่คือภาพภาพเดียวของเธอที่ฉันมี แทบไม่ใช่ภาพด้วยซ้ำแต่เป็นแค่ความรู้สึก เธออาจจะกำลังหลับอยู่ แต่ฉันว่าเธอกำลังอ่านหนังสืออยู่ มันมีบางสิ่งที่เงียบงันและเร้นลับเกี่ยวกับชั้นวางหม้อชั้นนั้น ซึ่งเป็นทรงปีระมิดและมีชั้นเอาไว้วางหม้อได้สี่ใบ ฉันยังจำได้ว่ามีกระทะใบเล็กที่มีฝาปิดและด้ามจับวางอยู่ชั้นบนสุด ฉันอยากจะพูดว่ามันมีกระทะใบใหญ่อยู่ที่ชั้นล่างสุดด้วย แต่มันอาจจะเป็นการกล่าวเกินจริงไปหน่อย ฉันยอมแลกทุกอย่างเลยเพื่อจะจดจำได้ว่าเสื่อน้ำมันหน้าตาเป็นยังไง
ตอนอายุเก้าเดือน เด็กน้อยเอาหัวมุดเข้าไปในหม้อและร้อง อาห์ อาห์ อาห์ ด้วยเสียงแผ่วเบาแล้วรอฟังเสียงสะท้อนกลับ คุณเธอค้นพบว่าทำแบบนี้ได้ด้วยตัวเองเลยนะ เพื่อฉลองการค้นพบนี้ ฉันเลยเอาหัวมุดเข้าไปในหม้อและร้อง อาห์ อาห์ อาห์ บ้าง แล้วเธอก็ทำตาม แล้วฉันก็ทำอีก แล้วเราก็ผลัดกันทำไปเรื่อยๆ
คนอื่นๆ ในครอบครับไม่เชื่อเลยว่าฉันจำชั้นวางหม้อชั้นนั้นได้ เพราะมันดูเป็นความทรงจำที่ไร้สาระ และถึงจะไม่เป็นเช่นนั้นพวกเขาก็คิดว่าฉันเด็กเกินกว่าที่จะจำอะไรได้ มันเป็นหน้าที่ของคนในครอบครัวอยู่แล้วที่จะคอยปฏิเสธความทรงจำของกันและกัน ปฏิเสธแม้กระทั่งเรื่องดีๆ และเพราะว่าฉันอายุน้อยที่สุดในบ้าน บางครั้งฉันเลยถูกบังคับให้ต้องต่อสู้เพื่อปกป้องสิ่งที่จำได้ในหัวตัวเอง แต่ฉันจำได้ว่าพี่ชายฉันทำข้อศอกหักตอนฤดูร้อนปีนั้น แม่เลยต้องพาเขาไปหาหมอที่โรงพยาบาลในดับลิน ยายเป็นคนคอยดูแลพวกเราตอนแม่ไม่อยู่ นั่นเป็นครั้งแรกในชีวิตที่ฉันต้องอยู่ห่างจากแม่ไม่ว่าจะเป็นระยะเวลานานแค่ไหนก็ตาม ถ้าตอนนั้นแม่อยู่ด้วย ฉันมั่นใจว่าฉันจะจำอะไรเกี่ยวกับบ้านหลังนั้นไม่ได้เลย ไม่ว่าจะเป็นชั้นวางหม้อ หรือแม้กระทั่งตัวคุณยายเอง
เราลักขโมยความทรงจำของเรา เราขโมยมันมาจากโลกภายนอก และเก็บมันมาซ่อนเอาไว้คนเดียว
ฉันห่างเด็กน้อยครั้งแรกตอนเธออายุสี่เดือน บางวันที่ฉันไม่อยู่เธอจะไปอยู่กับแม่ของฉัน ฉันสงสัยว่าภาพทรงจำแบบไหนกันนะที่จะติดตัวเธอไปจากช่วงเวลานั้น สี กลิ่น อาจจะเป็นส่วนผสมของรูปทรง ไร้อารมณ์และนิ่งงัน และไกลห่างออกไปในความทรงจำก็จะมีคนคนหนึ่ง มันก็แค่นั้น คนคนหนึ่ง
แล้วด้านหน้าของภาพล่ะ คงเป็นพรมล่ะมั้ง ฉันหวังว่าเด็กน้อยจะจำพรมที่บ้านพ่อแม่ฉันได้นะ พรมที่ฉันจำได้ตอนยังเป็นเด็ก พรมที่มีลายใบไม้สีเขียวเหมือนหินที่เรียงกันเป็นทางเดินยาวไปตามโถงของบ้าน
ฉันยังมีความทรงจำอีกเรื่องหนึ่ง อาจจะย้อนไปไกลกว่าเดิมด้วยซ้ำ เป็นความทรงจำตอนแกะวอลเปเปอร์ออกจากผนังระหว่างซี่กรงของเปลที่ฉันนอน ในภาพนั้นไม่มีแม่อยู่ แต่ถึงแม้ว่าเจ้าความทรงจำของชั้นวางหม้อจะไม่ใช่ความทรงจำที่สุขหรือทุกข์ มันกลับเป็นความทรงจำที่น่าตื่นเต้นเสียทีเดียว ฉันเกือบจะกินกระดาษเข้าไปอยู่แล้ว พลาสเตอร์ที่อยู่ใต้กระดาษเป็นสีชมพูและเป็นผงๆ ฉันจินตนาการได้เลยตอนนี้ว่ายังจำรสชาติของความประหม่าตอนกินมันลงไปได้ดี ฉันยังจำรูปทรงของรอยฉีกบนผนังได้ หรืออย่างน้อยฉันก็คิดว่าจำได้นะ ยังไงก็ตามฉันว่าฉันเห็นภาพนี้ในหัว มีรอยตะเข็บอยู่ทางซ้าย เส้นของมันตรงอย่างน่าอัศจรรย์ และมีลายทางอยู่สี่เส้นทางขวามือที่หลุดลุ่ยออกมาราวกับเป็นกลุ่มนิ้วอ้วนๆ เน่าๆ
ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งฉันรู้ว่าความทรงจำนี้เป็นเรื่องจริง แต่เมื่อไรก็ตามที่ฉันวิ่งไล่จับมัน มันก็จะจางหายไป มันเป็นความทรงจำที่มีตัวตนอยู่บริเวณชายขอบของการมองเห็น และจะปรากฏตัวก็ต่อเมื่อฉันพยายามเพ่งความสนใจไปที่อะไรอย่างอื่น เช่น ตอนพิมพ์งาน ตอนฉันเขียนประโยคนี้เสร็จและเงยหน้าจากจอเพื่อพยายามนึกภาพลายวอลเปเปอร์ แต่มันกลับว่างเปล่า ความทรงจำโดยธรรมชาติแล้วไม่ใช่สิ่งที่เราจะสำรวจตรวจสอบได้ และดวงตาที่ใช้มองภาพในหัวสมองก็ไม่ใช่ตาที่เราจะใช้จริงๆ ตัวอย่างเช่น ไม่ได้ใช้มองเวลาที่เราข้ามถนน
ฉันอดนึกสงสัยไม่ได้ว่านี่คือวิธีที่เด็กน้อยมองเห็นสิ่งต่างๆ หรือไม่นะ คลุมเครือและปรากฏขึ้นมาท่วมท้นในเวลาเดียวกัน มันคงเป็นการดำรงอยู่ในโลกที่สะเทือนอารมณ์เป็นที่สุด ฉันอาจจะมองแบบจินตนิยมเพ้อฝันไปหน่อย แต่โลกแห่งการมองเห็นให้แต่ความสุขกับเธอ (ดูเหมือนว่า)ในโลกใบนั้นมันไม่มีความน่ากลัวสยดสยองอยู่เลย เด็กทารกตัวน้อยมองเห็นแต่เพียงสีเดียว ฉันจินตนาการถึงสีต่างๆ หลั่งไหลเข้าสู่สมองของเธอ เหมือนหน้าจอที่ค่อยๆ ปรับสีช้าๆ ช้าอย่างเอื่อยๆ เหมือนต้นทีวีที่แอบโตขึ้นมาอย่างเฉื่อยๆ อยู่ตรงมุมห้อง ฉันจินตนาการว่าโฟกัสของเธอค่อยๆ คมขึ้นและลึกขึ้น เหมือนช่างกล้องที่เมายาตลอดเวลาคอยปรับกล้องของเขา เธอร้องว่า “โอ้” หรือเสียงสักเสียงที่เธอออกได้ก่อนจะเริ่มพูดคำว่า “โอ้” เสียงสูดลมหายใจสั้นๆ ความนิ่งงันเหมือนจู่ๆ เธอก็สนใจอะไรบางอย่างขี้นมา เริ่มแอบตามมันอย่างระมัดระวังตัวและหลงใหลใคร่รู้ มันเป็นเสียงที่ไพเราะที่สุดในโลก เสียงลมหายใจของเด็กตอนตกอยู่ในภวังค์ของความอัศจรรย์ใจ
มีอะไรบางอย่างมากระตุกหัวใจฉันทุกครั้งที่เด็กน้อยหยุดนิ่งไปแบบนี้ ตลอดเวลาหลายเดือน ฉันตกเป็นเป็นทาสที่เฝ้าคอยความสนใจจากเธอ โลกของเด็กมีแต่สี แสง พื้นผิว และฉันเป็นเพื่อนร่วมประสบการณ์ผู้แสนภาคภูมิใจของเธอ ฉันไม่มีทางเลือกหรอก ไม่มีแม่คนไหนมี ครั้งหนึ่งในร้านกาแฟ ผู้หญิงสามคนมองมาและยิ้มให้เธอ และพร้อมๆ กันนั้น พวกเขามองขึ้นไปบนเพดาน “อ๋อ แม่หนูเธอชอบแสงไฟสินะ” ผู้หญิงคนหนึ่งพูดขึ้น และความจริงข้อนี้ทำให้พวกเราสุขใจ อย่างท่วมท้นมากมายเหลือเกิน
แน่นอนล่ะว่าแสงไฟมันไม่ได้ดูดีเลย และนี่คือเหตุผลหนึ่งที่แม่ๆ คิดว่าตัวเองกำลังเป็นบ้าไปแล้ว ที่รู้สึกภูมิอกภูมิใจเวลาเห็นลูกจ้องมองแสงไฟ ภาคภูมิใจในแสงไฟตอนที่พวกเขาแนะนำมันให้เด็กรู้จัก “ใช่ นี่แหละจ้ะแสงไฟ!” มันเป็นภาวะนิ่งสงบแบบเซน โลกอันแสนเรียบง่ายและสดใหม่ เมื่อเราหยุดทุกสิ่งเพื่อชื่นชมเด็กน้อยผู้กำลังชื่นชมเชิงเทียนเหล็กดัดที่มีชิ้นส่วนประหลาดๆ ห้อยต่องแต่งลงมา และหลอดไฟสว่างทรงดอกทิวลิปห้าหลอด ใช่ ห้าหลอดเลย!
ยังอีกหลายปีเลยกว่าเด็กน้อยจะรู้ว่า “ห้า” หมายความว่ายังไง แต่บางทีเธออาจจะเข้าใจ “ภาวะความเป็นห้า” ของเลขห้าแล้วก็ได้ นี่คือวิธีที่ตาของเธอขยับ หนึ่ง อีกหนึ่ง! นี่ก็อีกหนึ่ง! ทั้งหมดเลย! อีกสองอันที่เหลือ กลับมาอันแรกอีกครั้ง อีกอัน! อย่างอื่นด้วย
บางครั้งเธอยกมือขึ้นราวกับพระเยซูคริสต์องค์น้อย ดูเหมือนว่าเธอเป็นที่เก็บกักของทุกสรรพสิ่ง และเป็นผู้ตื่นรู้ทุกอย่าง ฉันไม่ได้ต้องการการประทานอภัยจากบาป แต่ก็ยังรู้สึกว่าได้ชำระล้างบาปจากความสมบูรณ์หมดจดของสายตาที่เด็กน้อยจ้องมองมา รู้สึกว่าได้รับการไถ่ชำระบาปจากข้อมืออ้วนป้อม และมืออันอวบอิ่มละเอียดอ่อนไม่เคยเปลี่ยนของเธอ เด็กน้อยคือพรอันน่าปิติ แต่บางครั้งตัวเด็กเองก็เป็นผู้ประทานพร และต้องประทานพรให้กับผู้อื่น ซึ่งนั่นหมายความว่าเธอแค่เพียงมองดู และยกมือของเธอขึ้น เป็นดั่งสัญญาณอันศักดิ์สิทธิ์
ฉันอุ้มเด็กทารกน้อยขึ้นและเราทั้งสองมองไปในกระจกหน้าตู้เสื้อผ้า กระจกเป็นความเริงร่าที่แสนซับซ้อนของเธอมาโดยตลอด นั่นอะไรน่ะ นั่นมันเด็กน้อยนี่! เธอยิ้ม แล้วเด็กในกระจกก็ยิ้มตอบ! (มันคือความซับซ้อนในซ้อน นี่ฉันเอง! นี่ฉันเอง! เธอบอก และจุดเชื่อมต่อระหว่างเซลล์ต่างๆ ในสมองของเธอ ตามที่ฉันจินตนาการดู คงจะส่งเสียง ปิ๊ง! ปิ๊ง! ปิ๊ง!) เด็กเห็นว่าฉันกำลังยิ้มให้ในกระจก และเห็นแม่ของเธอหันมายิ้มให้เธอในห้อง โอ้โห มันมากเกินไปแล้ว เธอพุ่งไปข้างหน้าเพื่อสำรวจปุ่มจับประตูตู้เสื้อผ้า
จริงๆ แล้วมันมีปุ่มจับอยู่สองอันบนตู้เสื้อผ้า อันหนึ่งเป็นไม้ และอีกอันไม่รู้ว่าเพราะอะไรถึงเป็นพลาสติกสีเหลืองอำพันแทน เด็กน้อยมองจากอันแรกไปยังอีกอันหนึ่ง และกลับไปอันแรกอีก หนึ่งในความสับสนแรกในชีวิตวัยเยาว์ของเธอคือตอนที่ทั้งฉันและมาร์ตินมองเธอพร้อมกันสองคน “ไม่นะ พวกเขามีสองคน” มันเกือบจะไม่ยุติธรรมเอาเสียเลย
ยิ่งเด็กน้อยโตขึ้น ไม่มีอะไรที่เธอจะชอบมากไปกว่าการให้เราคนใดคนหนึ่งอุ้มและมองอีกคนหนึ่งไปพร้อมกัน ด้วยสายตาคล้ายคนหยิ่งยะโส พอโตขึ้นมาอีก เธอจะพอใจมากเวลาเราสองคนอยู่ในห้องกับเธอพร้อมกันเงียบๆ เธอเดินทางจากหนึ่ง ไปสอง และอาจจะไปอีกหลายๆ ที่ ฉันคิดถึงเรื่องนี้ตอนที่มองดูเด็กน้อยจ้องปุ่มจับไม้และเปลี่ยนไปอันที่เป็นพลาสติก เทพนิยายของความเหมือนและความต่าง อันนี้ อันนั้น
แน่นอน ความแตกต่างแรกระหว่างอันนี้และอันนั้นที่เธอสังเกตเห็นไม่ใช่ระหว่างแม่และพ่อ หรือกระทั่งระหว่างเด็กน้อยกับ “เด็กน้อยในกระจก” แต่มันคือความต่างระหว่างหน้าอกข้างหนึ่งกับอีกข้างต่างหาก! ถ้าผู้หญิงมีหัวนมห้าหัว มนุษยชาติตอนนี้อาจจะอาศัยอยู่บนดวงจันทร์ไปแล้วก็ได้
เมื่อวานนี้อากาศอบอุ่น ฉันเลยถอดถุงเท้าของเธอออกแล้วพาเธอไปยืนบนหญ้า เธอชอบมันมาก แต่คงไม่มากเท่าที่ฉันชอบประสบการณ์ครั้งแรกของเธอกับหญ้าหรอก สำหรับเธอไอ้อะไรสีเขียวๆ นี้มันก็แตกต่างและเอร็ดอร่อยเพลิดเพลินเหมือนกับทุกอย่างที่เจอมานั่นแหละ ไอ้ “ครั้งแรก” มันเป็นแค่ของฉันคนเดียว บางครั้งฉันรู้สึกเหมือนกำลังแนะนำลูกให้รู้จักกับโลกในอดีตที่ฉันโหยหาเอง
ในเวลาเดียวกัน หญ้านั้นสีเขียวขจี เด้งได้ มากมายเกินคณานับ แถมยังเป็นตัวของมันเอง เผลอๆ อาจจะกินได้ด้วย ทุกอย่างถูกเด็กน้อยหยิบใส่ปาก อันนี้รสชาติสีเหลือง อันนี้รสชาติสีน้ำเงิน ตั้งแต่เธอเริ่มไปนู่นไปนี่ได้เธอก็เริ่มได้ลิ้มรสของสนามหญ้า ของขนมปังค้างคืน และอาจจะมูลของหนูด้วย เพราะฉันเพิ่งรู้หลังจากหลายสัปดาห์แล้วว่าในบ้านไม่ได้มีแค่พวกเรา กระดาษยังคงเป็นเป้าหมายสูงสุดของเธอ เดี๋ยวนี้เธอชอบเหลียวหลังมองว่าฉันอยู่แถวนั้นหรือเปล่า วอลเปเปอร์ตรงนั้นมันดูน่ากินจัง
ฉันหวังจริงๆ ว่าจะจำวอลเปเปอร์ตอนเด็กของตัวเองได้ ไม่ใช่จำได้แค่รอยฉีกของมัน ปัจจุบันเด็กน้อยนอนในเปลของฉัน เปลหลังที่พ่อฉันทำให้เมื่อกว่าสี่สิบปีที่แล้วด้วยเดือยไม้หนาครึ่งนิ้วและกลไกที่ค่อนข้างชาญฉลาดเอาไว้เลื่อนกรงด้านข้างลง คืนหนึ่งฉันไปนั่งข้างเปลและป้อนนมเธอ ฉันพยายามจำความรู้สึกตอนที่ตัวเองอยู่ในเปล จำทิวทัศน์ที่มองผ่านซี่กรงและวอลเปเปอร์ที่ฉีกออกมาจากผนัง ไม่รู้ตอนไหนที่ใครสักคนทาสีเปลเป็นสีฟ้าอ่อน แต่ฉันจำได้ว่ามันเป็นสีเขียว เหมือนจะจำได้ด้วยว่าเคยเคี้ยวคานด้านบนของมัน เด็กน้อยดูดนม ขนตาของเธอกระพริบช้าๆ ด้วยความมึนง่วง ดวงตาเกือบจะปิดอยู่รอมร่อ ขณะที่ภวังค์ความคิดของฉันกำลังล่องลอยไปที่อื่นฉันก็สังเกตว่าใต้รอยแตกล่อนของสีฟ้ามีสีเขียวที่ฉันเคยกินเข้าไปตอนเด็กอยู่ ชั่วขณะหนึ่งความรู้สึกที่รุนแรงและห่างไกลออกไปก็เอ่อล้นขึ้นในใจฉัน และก็จางหายไป
แม่ฉัน หรือใครสักคนนี่แหละ เป็นคนดึงเปลให้ออกห่างจากผนัง และหลังจากนั้นไม่นานวอลเปเปอร์ที่ฉันจำไม่ได้ก็ถูกเปลี่ยนเป็นอันที่ฉันจำได้ (ดอกไม้สีฟ้าพิมพ์ลายด้วยบล็อกบนพื้นหลังขาว) เด็กๆ ชอบลวดลายมากเสียจนฉันเริ่มเสียดายที่ตัวเองพยายามมีรสนิยมมากไป ไม่มีพรมลายม้วนให้เด็กน้อยคลานเล่น ไม่มีดอกไม้สักดอกบนผนัง แม้แต่ของเล่นเธอยังเป็นแค่แม่สี โมบายก็ซื้อมาจากหอศิลป์เทต เป็นรูปทรงตัดแปะเหมือนภาพศิลปะของมอนเดรียน ที่แยกส่วนกระจัดกระจายอยู่
ตอนที่ฉันเลิกพยายาม ฉันเหมือนจะเริ่มจำได้ว่าแม่เคยบ่นเรื่องผนังฉีกขาด แม่น่าจะหัวเสียน่าดูเรื่องวอลเปเปอร์ นั่นอาจจะเป็นสาเหตุที่ฉันจำมันได้ มันเป็นประสบการณ์แรกที่ฉันได้ยินคำว่า “ไม่!”
ลูกฉันคิดว่า “ไม่!” เป็นเกม ถ้าฉันพูดครั้งแรกเธอจะหยุดไปชั่วคราว ถ้าพูดครั้งที่สองเธอจะมองฉัน ถ้าพูดครั้งที่สามเธอจะหัวเราะ นั่นแหละมุกเด็ดที่สุดสำหรับเธอ!
แม้มันจะมีรสนิยมขนาดไหน ลูกฉันก็ชอบโมบายเอามากๆ มันมีวงกลมสีแดงวงใหญ่ที่หมุนช้าๆ จนเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน และสี่เหลี่ยมจัตุรัสเล็กๆ ที่เปลี่ยนจากดำเป็นขาว ยังมีสี่เหลี่ยมผืนผ้าอื่นๆ ที่ไม่ได้ประทับใจเธอขนาดนั้น แต่โดยรวมแล้วโมบายชิ้นนี้เป็นสิ่งที่เธอชอบมากที่สุดในโลกเลย
เราย้ายบ้านตอนเธออายุเกือบแปดเดือน หลังจากนั้นสองเดือนฉันถึงมีเวลาเอาโมบายไปติดให้เธออีกครั้ง ตอนทำเสร็จเด็กน้อยดีใจจนตัวสั่น ภาพทุกอย่างปรากฏกับเธอโดยกระตุกเป็นช่วง เธอรู้แล้วว่าไม่ใช่แค่โมบายอยู่ตรงนั้น แต่รู้ด้วยว่ามันเคยหายไป เธอจำมันได้ และการจะทำสิ่งนี้ได้เธอต้องเห็นภาพสามภาพพร้อมกัน ภาพโมบายในแฟลตที่เราเคยอยู่ ห้องใหม่ที่ไม่มีโมบาย และห้องใหม่ที่มีโมบาย ความทรงจำไม่ใช่อะไรที่เป็นเอกพจน์
มาร์ตินเคยบอกว่าความทรงจำแรกของเขาเกี่ยวกับพี่ชายคนหนึ่งเอาเหยือกพลาสติกสีฟ้าตีหัวพี่ชายอีกคนจนแตกเป็นเรื่องไม่จริง แม่เขาบอกว่าที่บ้านไม่เคยมีเหยือกพลาสติกทรงเรียวสีฟ้าอ่อน เขาคิดว่าเขาฝันถึงเหยือกใบนั้น และในความฝันนั้นมีไอเดียว่านี่คือความทรงจำแรก เพราะหลังจากนั้นเขายังฝันต่อถึง “ความทรงจำแรก” ซึ่งเป็นภาพคนกำลังโบกมือให้เขาจากเครื่องบินขณะที่เขายืนมองจากสวนด้านล่าง เขาเชื่ออยู่หลายปีว่านี่คือเรื่องจริง มันเลยทำให้ฉันคิดว่าพวกเราคงเด็กมากตอนเราตามหาความทรงจำแรก ห้วงเวลาหนึ่งนั้นที่เราเข้าสู่สายธารของเวลา
แม่ของฉัน ผู้ซึ่งเป็นทั้งภัณฑารักษ์และภาชนะเก็บสะสมหลายสิ่งหลายอย่าง รวมถึงความทรงจำเกี่ยวกับชั้นวางหม้อของฉันด้วย ชักจะกังวลว่าเธอเริ่มจะขี้ลืมมากขึ้นทุกวัน แม่บอกว่าอดีตอันไกลมันใกล้เข้ามามากขึ้นอยู่ตลอดเวลา ถ้านี่เป็นความจริง ความทรงจำเกี่ยวกับแม่ของแม่เองก็น่าจะเริ่มชัดขึ้นในปัจจุบัน ความทรงจำตอนที่นั่งอยู่ในบ้านริมทะเล รายล้อมไปด้วยเด็กๆ ที่ทั้งกำลังสนุกสนาน กังวล และใจจดใจจ่อกับบางสิ่ง
ถ้ามาคิดดูจริงๆ หม้อพวกนั้นคงอยู่ในชั้นไม่ได้นานหรอก ฉันน่าจะดึงมันลงมาแล้ว มันต้องมีเสียงดังแน่ๆ แม้ในความทรงจำของฉันเรื่องนี้จะเงียบงัน ไร้ซึ่งเสียงใดๆ อย่างชัดเจนโดยสิ้นเชิง บางทีสิ่งที่ฉันจำได้อาจจะเป็นช่วงเวลาสงบก่อนความวุ่นวายของสรรพเสียง และการก่นด่ากันโกลาหล ช่วงเวลาอันงดงามอ้อยอิ่งอันแสนเพลิดเพลินที่เด็กน้อยจะเงียบกริบพราะรู้ตัวว่ากำลังจะถูกจับได้
เช้าวันก่อนเด็กน้อย(แอบ)ไปหยิบต้นอ่อนที่ฉันเก็บไว้ใต้บานหน้าต่างและเอาต้นกล้าพืชฤดูเดียวพร้อมกับดินเพาะกล้ากำมือหนึ่งมาใส่ปาก ฉันพยายามงัดปากเธอเพื่อจะเอามันออก แต่เธองับปากไว้แน่นและกัดฉัน(โดยบังเอิญ) เธอเริ่มร้องไห้ และตอนร้องไห้นี่เองที่ปากเธออ้าออก เธอคุมตัวเองไม่อยู่เพราะความโศกเศร้าเสียใจ และมันดูไม่ยุติธรรมสำหรับเธอเลย ฉันจึงปล่อยให้เด็กน้อยกินมัน ฉันทำใจบังคับเธอไม่ได้ นอกจากนั้นแล้วบนถุงดินก็เขียนไว้ว่าปราศจากเชื้อโรค
แต่ยังไงๆ เด็กน้อยก็ไม่ยอมให้ฉันเอานิ้วใส่ปากจนกระทั่งทุกวันนี้ แม้แต่เพื่อจะไปเช็คดูว่าฟันขึ้นแล้วหรือยัง (คุณเธอภูมิใจกับฟันมาก) และเวลาเธอปิดปากแน่นสนิทและหันหน้าหนีเธอกำลังบอกว่า “ฉัน” เสียงดังฟังชัด “ตายจริง” เพื่อนฉันคนหนึ่งเคยบอกตอนที่เด็กน้อยเริ่มคลาน “จุดจบกำลังเริ่มขึ้นแล้ว” และฉันรู้ว่าเพื่อนหมายความว่ายังไง มันเป็นจุดเริ่มต้นของจุดจบของเรื่องราวความรักระหว่างผู้หญิงที่ลืมไปแล้วว่าเธอเป็นใครและเด็กน้อยที่ยังไม่รู้จักตัวเอง
คงมีสักวันที่ช่วงเวลานั้นจะมาถึง ไม่ว่าจะสนุกสนานหรือน่าเบื่อ ธรรมดาทั่วไปหรือแปลกประหลาด ช่วงเวลาที่เธอจะจดจำได้ไปตลอดชีวิตของเธอ
Translation Commentary
Monthita Rojtinnakorn / มนฑิตา โรจน์ทินกร
“Time” is the longest text among all of the excerpts from Making Babies. Due to its main subject of memory, several parts of the text appear dream-like and ambiguous. This poses the primary challenge to the translation of this story.
The first issue is figuring out what the speaker means by “a real step” from “it stood beside a real step.” It can be inferred that this “real step” is a juxtaposition of “a shallow step” that was mentioned in the previous paragraph. A shallow step in her memory could be so shallow that it does not seem like a step, but it is in fact a “real” step according to her mother. However, I realised after I have finalised the translation that “placed besides a real step” (วางอยู่ข้างขั้นบันไดจริง) in Thai can both mean the pot stand is placed besides an “actual” step, and that it “really” is placed there besides the step. This is because the word “จริง” can modify both the step and the action of placing. The solution would be to add a counting word (a feature in Thai that is not common in English) for a step which is “ขั้น,” thus changing it to “วางอยู่ข้างบันไดขั้นจริง.” However, this would make the phrase sound more ambiguous since it would imply that there are other steps in the same setting that are fake. I decided to keep my original translation even though I am aware of its double meaning.
Some phrases appear stylistically ambiguous. For instance, “the shivery taste” from “I imagine now that I can remember the shivery taste of it” was interpreted as “the taste of nervousness” (รสชาติของความประหม่า) as I considered that it conveys the baby’s shaking with nervousness while sneaking the wallpaper into her mouth. The entire part where the speaker describes the process of a baby seeing colours also seems surreal, including the phrase “tremendously slow, like a vegetable television growing silently in the corner of the room.” For this sentence, I struggled to translate “a vegetable television” and decided to translate it literally. Nevertheless, I wanted to maintain the sense that “vegetable” also implies immobility. I then translated “growing silently” as “secretly growing in a slow manner” (แอบโตขึ้นมาอย่างเฉื่อยๆ). Another sentence, “Someone, over the years, had painted it nursery blue” generated a long discussion of what “it” refers to as it is important to indicate what it is in the Thai translation. After rereading several times and discussing with my reviewers and friends, I decided that “it” refers to the cot. Hence, the translation became “I do not know when someone painted the cot nursery blue” (ไม่รู้ตอนไหนที่ใครสักคนทาสีเปลเป็นสีฟ้าอ่อน).
The next significant point is one of the most challenging aspects of translating English into Thai — identifying the right age hierarchy when addressing someone. The terms for family members in English are more obvious in gender than Thai. For example, the term “พี่” in Thai can mean an older person regardless of what gender they are or whether they are related to the speaker or not, and the term “น้อง” refers to a younger person in the same sense. The gender is only added when one adds “ชาย” for male and “สาว” for female. Meanwhile, English has “brother” and “sister,” whose terms determine the gender and, in many cases, imply that these are relatives of the speaker. However, the terms do not determine whether they are older or younger than the speaker. This became a problem when the speaker mentions her brother in “But my brother broke his elbow that summer” as well as the “one brother” and “another brother” from Martin’s memory. Therefore, I was required to guess their age based on the context to know which word to select in Thai. In both cases, I ruled with the help of my reviewers that they are older brothers due to the fact that both the narrator and Martin are discussing their first memories, which is likely to be when they were babies. The brothers, however, are old enough to “[break their] elbow” and “[break] a blue plastic jug over another brother’s head.”
I also encountered a problem when translating the word “Me” imaginarily spoken by the baby in “when she clamps it shut and turns away she is saying, ‘Me,’ loud and clear.” In Thai, many young children or some adults, especially female, will call themselves “หนู” (literally translated as “mouse”) when speaking to an older person. Nevertheless, the “Me” in this context highlights the baby’s self-agency and shows that she is developing a sense of independence. To use “หนู” would create a hierarchy and make the baby seems inferior in power to her parents, thus depriving her of the agency and independence. Therefore, I adopted “ฉัน” which is a neutral term for “I” even though it sounds strange that a baby would address themselves in this way.
The problem with pronouns persisted when I tried to translate “In a café, three women look over to smile at her, and then, as one, they look up. ‘Oh, she likes the light,’ says one.” How would the women address the baby? It would sound unnatural for them to adopt the literal translation of she (เธอ) as it is not what people call a baby. The most suitable pronoun would be “หนู” which I have mentioned earlier. My reviewer Dr. Carina Chotirawe suggested that I use “แม่หนูเธอ” to add a sense of endearment to the phrase. This, nevertheless, makes it sound like the women are much older than the baby.
Like “God,” there are also Biblical allusions in “Time” that generate another challenge in translation (see my commentary for “God”) since I needed to rely on the type of language that would be used in the Thai Bible and other religious texts. However, I enjoyed selecting the suitable words and was successful in maintaining some of Enright’s alliterations, including “her fat baby wrists and her infinitely fine, fat baby’s hand” which I translated as “ข้อมืออ้วนป้อม และมืออันอวบอิ่มละเอียดอ่อนไม่เคยเปลี่ยนของเธอ.”